ข้อความโดย: Rakayang.Com
« เมื่อ: สิงหาคม 16, 2016, 08:48:17 AM »ชาวสวนยางสตูลหันปลูกปาล์ม-มะนาวเหตุราคาตก
15 ส.ค. 59 (21:15 น.)

ชาวสวนยางสตูล ตัดสินใจโค่นต้นทิ้งหันปลูกปาล์ม - มะนาว หลังประสบภาวะราคาตกต่ำต่อเนื่อง
นาง สิริพร โบเนียม อยู่ที่ หมู่ที่ 1 ต.ฉลุง อ.สตูล ชาวสวนยางพารา จ.สตูล เผยว่า แม้ว่าราคายางพาราจะปรับราคาสูงขึ้น กิโลกรัมละ 50 บาท แต่ตนเองทำสวนยางพาราจำนวน 75 ไร่ ไม่คุ้มค่าในการจ้างที่จะดูแลสวนยางพารา รายได้ในแต่ละวัน แต่ละเช้าไม่ถึง 600 บาท และเพาะพันธุ์ยางจำหน่าย ล่าสุดได้โค่นค้นยางพาราคาขายไม้ยางพารา 50 ไร่ ในราคากิโลกรัมละไม่ถึง 1 บาท เตรียมพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันและมะนาว สร้างเศรษฐกิจแทนยางพารา นอกจากนี้ เปิดธุรกิจเพาะพันธุ์ยางพาราเป็นต้นปาล์ม เพื่อที่จะทำแทนยางพารา ชาวสวนในพื้นที่ จ.สตูล ไม่มีการสั่งออเดอร์ต้นยางพาราแต่อย่างใด เนื่องจากราคายางพาราอย่างน้อยในเวลา 10 ปี 20 ปี อาจจะทำให้ปาล์มได้มีราคามากขึ้นซึ่งจากที่ผ่านมาเวลา 2 ปี ไม่มีออร์เดอร์ในการสั่งต้นกล้ายางพาราคาแต่อย่างใดต้นกล้าโตจนเสียหายทิ้ง เปล่าขณะที่ชาวสวนยางหลายคนปรับพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันแทนราคายางพาราคาที่ อาจมีผลผลิตที่ดีกว่าในอนาคตชาวสวนยางพาราในพื้นที่ จ.สตูล ร้อยละ 70 ประกอบกับแรงงานส่วนใหญ่เป็นชาวภาค
อีสาน ชาวลาว กัมพูชา ที่กลับภูมิลำเนาเดิม หลังจากที่ราคายางพาราต่ำกว่า 4 กิโลกรัม ไม่ถึง 100 บาท
15 ส.ค. 59 (21:15 น.)

ชาวสวนยางสตูล ตัดสินใจโค่นต้นทิ้งหันปลูกปาล์ม - มะนาว หลังประสบภาวะราคาตกต่ำต่อเนื่อง
นาง สิริพร โบเนียม อยู่ที่ หมู่ที่ 1 ต.ฉลุง อ.สตูล ชาวสวนยางพารา จ.สตูล เผยว่า แม้ว่าราคายางพาราจะปรับราคาสูงขึ้น กิโลกรัมละ 50 บาท แต่ตนเองทำสวนยางพาราจำนวน 75 ไร่ ไม่คุ้มค่าในการจ้างที่จะดูแลสวนยางพารา รายได้ในแต่ละวัน แต่ละเช้าไม่ถึง 600 บาท และเพาะพันธุ์ยางจำหน่าย ล่าสุดได้โค่นค้นยางพาราคาขายไม้ยางพารา 50 ไร่ ในราคากิโลกรัมละไม่ถึง 1 บาท เตรียมพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันและมะนาว สร้างเศรษฐกิจแทนยางพารา นอกจากนี้ เปิดธุรกิจเพาะพันธุ์ยางพาราเป็นต้นปาล์ม เพื่อที่จะทำแทนยางพารา ชาวสวนในพื้นที่ จ.สตูล ไม่มีการสั่งออเดอร์ต้นยางพาราแต่อย่างใด เนื่องจากราคายางพาราอย่างน้อยในเวลา 10 ปี 20 ปี อาจจะทำให้ปาล์มได้มีราคามากขึ้นซึ่งจากที่ผ่านมาเวลา 2 ปี ไม่มีออร์เดอร์ในการสั่งต้นกล้ายางพาราคาแต่อย่างใดต้นกล้าโตจนเสียหายทิ้ง เปล่าขณะที่ชาวสวนยางหลายคนปรับพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมันแทนราคายางพาราคาที่ อาจมีผลผลิตที่ดีกว่าในอนาคตชาวสวนยางพาราในพื้นที่ จ.สตูล ร้อยละ 70 ประกอบกับแรงงานส่วนใหญ่เป็นชาวภาค
อีสาน ชาวลาว กัมพูชา ที่กลับภูมิลำเนาเดิม หลังจากที่ราคายางพาราต่ำกว่า 4 กิโลกรัม ไม่ถึง 100 บาท