ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 120 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

แนบไฟล์:
(Clear Attachment)
(แนบไฟล์เพิ่ม)
Restrictions: 4 per post, maximum total size 192KB, maximum individual size 128KB
Verification:
กรุณาพิมพ์ชื่อนี้ Rakayang เป็น???าษาไทย:

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: Rakayang.Com
« เมื่อ: พฤศจิกายน 27, 2018, 10:34:24 AM »

ผลผลิตยางพาราไทย ถ้าไม่ผลิตยางล้อ ถ้าไม่ง้อแต่การส่งออก.. ..ทำอะไรได้บ้าง..


มาร่วมกันคิดเล่นๆให้เป็นจริงๆ ดีไหมครับ
..ด้วยคุณสมบัติของยางพารา ที่มีส่วนประกอบไฮโดรคาร์บอน ( C 5 H 8 ) คล้ายกับน้ำมันปิโตรเลียม ที่เราใช้กันอยู่ ..
แต่ " ยางพารา " ให้มากกว่านั้น
เมื่อนำยางพารามาเป็นเชื้อเพลิง ได้ค่าความร้อนสูง ประมาณ 44 เมกะจูลต่อกิโลกรัม(ยางแห้ง) เทียบเท่ากับหน่วยกิโลวัตต์ชั่วโมงเท่ากับ 12.22 กิโลวัตต์ชั่วโมง ถ้าผลิตไฟฟ้าแบบพลังงานรวม ( CoGen ) จะผลิตไฟฟ้าได้มากกว่าทั่วไป ..
  ในแนวทางนี้จะทำให้เกิดการดูดซับยางออกจากระบบได้อย่างยั่งยืนเพราะใช้แล้วหมดไป ลดการนำเข้าพลังงานไฟฟ้า และลดการใช้พลังงานนำเข้าเพื่อการผลิตไฟฟ้า ..การปลูกสร้างสวนยางพาราจะยั่งยืนเพราะยางถูกใช้เป็นพลังงานได้ดีกว่าพลังงานทดแทนอื่นๆ เพราะเชื้อเพลิงยางพารา ผลิตพลังงานได้แม้ไม่มีแสงแดด ไม่มีลมพัด ไม่มีน้ำในเขื่อน เดินระบบผลิตพลังงานจากยางพารา ช่วงเวลาไหนก็สว่างไสว หรือจะผลิตไฟฟ้าในช่วงที่ใช้พลังงานสูงสุด ( On Peak ) ก็ทำได้ตามต้องการ ในส่วนไม้ยางที่ตัดโค่น หรือ รานกิ่งเพื่อผลิตชีวมวล ก็ได้ค่าความร้อน 6.57 เมกะจูลต่อกิโลกรัม ที่ความชื้นของไม้ยาง 55 % ปกติไม้ยางหลังการสับก็มีความชื้นประมาณนี้ ถ้าปล่อยให้แห้ง ราคารับซื้อก็จะสูงแปรผันตรงข้ามกับความชื้น ....
จากสมมุติฐานดังกล่าว พอจะทำให้การกำหนดราคายางเกิดจากเกษตรกร
มีความเป็นไปได้มากกว่าเดิมรึเปล่าก็ไม่กล้ารับประกัน แต่ที่รับประกันได้คือข้อมูลดังกล่าวคือเรื่องจริงครับ..
โปรดติดตามตอนต่อไป..