ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 120 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

แนบไฟล์:
(Clear Attachment)
(แนบไฟล์เพิ่ม)
Restrictions: 4 per post, maximum total size 192KB, maximum individual size 128KB
Verification:
กรุณาพิมพ์ชื่อนี้ Rakayang เป็น???าษาไทย:

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: Rakayang.Com
« เมื่อ: พฤษภาคม 28, 2019, 09:36:48 PM »

5 ประเทศลุ่มแม่น้ำโขงร่วมมือแก้ปัญหาราคายางตก
28 May 2019  ที่มา ฐานเศรษฐกิจ


โลกจับตา! สยยท.ดึง 5 ประเทศลุ่มแม่น้ำโขง สร้างแบรนด์ผลิตร่วมกัน ควบตั้งตลาดกลางซื้อขายจริง ไม่ง้อนโยบายรัฐ เล็ง 2 ประเทศ "เมียนมา-ลาว" ตั้งฐานผลิต เหตุค่าแรงถูก ไทยอัดเทคโนโลยีช่วย ฉวยจังหวะ ?จีน-อเมริกา? ฟัดเสียบตลาดแทน


นายอุทัย สอนหลักทรัพย์  ประธานสภาเครือข่ายสถาบันเกษตรกรชาวสาวยางแห่งประเทศไทย (สยยท.) เผยกับ ?ฐานเศรษฐกิจ?ถึงแนวคิดความร่วมมือ 5 ประเทศลุ่มแม่น้ำโขง ประกอบด้วยไทย เมียนมา ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตยางพารารวมกันสัดส่วน 70-80% ของโลก เพื่อจัดตั้งตลาดกลางซื้อขายยางพาราจริง ควบคู่กับนำยางไปผลิตเป็นอุตสาหกรรมโดยจ้างแรงงานในลาว เมียนมา ราคาถูก โดยไทยจะถ่ายทอดเทคโนโลยีให้ และจะสร้างแบรนด์ร่วมกัน



?ล่าสุดนวัตกรรมรองเท้ายางพาราเปลือกทุเรียนและไม้ตีนเป็ดมีการใส่ลวดลายตกแต่งด้วยผ้าทอมือมีความยืดหยุ่นได้ดี รองรับน้ำหนักเท้าเพื่อสุขภาพ  เป็นต้น"



นายอุทัย กล่าวอีกว่า ปัจจุบันลาวกำลังทำเขตเศรษฐกิจพิเศษใครจะไปลงทุนก็จะได้สิทธิพิเศษเหมือนที่ระยอง ชลบรี และฉะเชิงเทรา ได้จดทะเบียนไว้เรียบร้อยแล้วและเริ่มทำงานแล้ว ในส่วนงานที่จะเกิดขึ้นในวันที่ 31 พฤษภาคมนี้จะเป็นการบันทึกข้อตกลง ( MOU )เพื่อความร่วมมือในการแก้ไขปัญหายางพาราโดยการเพิ่มมูลค่า การวิจัย และพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมร่วมกันกับสมาคมชาวสวนยางประเทศเมียนมา



"มีเจตนารมณ์เพื่อร่วมมือกันสร้างเครือข่ายอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ยางซึ่งเป็นการเพิ่มมูลค่ายางและสร้างงานภายในประเทศ เพื่อยกระดับราคายางของเกษตรกรให้สูงขึ้น ซึ่งจะร่วมมือกันในการวิจัยและพัฒนายางพาราตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และ ปลายน้ำ และร่วมมือกันสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อให้มีคุณภาพได้มาตรฐานสากลโดยใช้เครื่องหมายการค้าเดียวกันให้เป็นที่เชื่อถือในอาเซียนและทั่วโลก"



เมื่อแต่ละประเทศนำยางมาใช้ทำอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางในประเทศมากขึ้นปริมาณยางก็จะลดลงราคายางจะปรับตัวสูงขึ้น และอนาคตเราจะสร้างตลาดกลางเพื่อเป็นผู้กำหนดราคายางพาราร่วมกัน 5 ประเทศอาเซียน อย่างไรก็ตามโครงการดังกล่าวนี้เกษตรกรคิดเองทำเองไม่ได้พึ่งราชการแม้แต่บาทเดียว