ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 120 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

แนบไฟล์:
(Clear Attachment)
(แนบไฟล์เพิ่ม)
Restrictions: 4 per post, maximum total size 192KB, maximum individual size 128KB
Verification:
กรุณาพิมพ์ชื่อนี้ Rakayang เป็น???าษาไทย:

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: Rakayang.Com
« เมื่อ: กรกฎาคม 22, 2019, 12:33:25 PM »

ตัวแทนเครือข่ายสภาองค์กรชุมชนตำบลและประชาสังคม จะยื่นรมว.เกษตรมีข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อแก้ปัญหายางพารา
ตัวแทนเครือข่ายสภาองค์กรชุมชนตำบลและประชาสังคม จะไปพบและยื่นหนังสือกับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อแก้ปัญหายางพารา
ตามมติที่ประชุมสภาองค์กรชุมชนตำบลในระดับชาติ
1. ให้การยางแห่งประเทศไทยใช้กลไกตามมาตรา 49 ( 5) จัดตั้งกองทุนสวัสดิการชาวสวนยาง แบบสมัครใจจ่ายสมทบลักษณะสังคมสวัสดิการ
2. ให้การยางแห่งประเทศไทยแก้ไขระเบียบว่าด้วยการขึ้นทะเบียนเกษตรกรชาวสวนยาง เพื่อให้เกษตรกรชาวสวนยางที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ 300,000 ราย สามารถขึ้นทะเบียนได้ตามมาตรา 4 พ.ร.บ.การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ.2558 โดยคำแนะนำของกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
3. ให้รัฐบาลสนับสนุนและส่งเสริมการทำสวนยางยั่งยืนโดยสนับสนุนเงินปลูกแทนเพิ่มเติมอีกไร่ละ 10,000 บาท เมื่อเกษตรกรชาวสวนยางขอรับการปลูกแทนตามมาตรา 49 ( 2 )แบบผสมผสาน ( เมนู 5 )
4. ให้รัฐบาลแก้ปัญหาสิทธิการใช้ประโยชน์ที่ดินตามกฎหมายของเกษตรกรชาวสวนยางที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์ จำนวน 300,000 ราย พื้นที่ 5 ล้านไร่ โดยใช้กลไกสิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญเพื่อขอโฉนดชุมชน และ ใช้ยุทธศาสตร์ ?สวนยางยั่งยืน? เป็นเครื่องมือเพื่อเปลี่ยนสวนยางเชิงเดี่ยวให้เป็นป่ายางที่มีสมดุลนิเวศและเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ทับซ้อนป่าไม้ 5 ล้านไร่
5. ให้รัฐจัดทำแผนแม่บทและยุทธศาสตร์ยางพารา ว่าด้วยการยกระดับรายได้และพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรชาวสวนยาง เพื่อสุขภาวะชาวสวนยางที่ดี
6. ให้การยางแห่งประเทศไทยจัดตั้งบริษัทร่วมทุนหรือบริษัทจำกัด เพื่อทำธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับยางพารา ตามมาตรา 10 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาเสถียรภาพราคายางพารา
7. ให้รัฐบาลเร่งขยายตลาดยางพาราและผลิตภัณฑ์ยางพาราใหม่ๆในต่างประเทศ เพื่อลดการพึ่งพาตลาดจีน
8. ให้รัฐบาลจัดทำยุทธศาสตร์ว่าด้วยการเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมยางของโลก
9. ให้รัฐบาลส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรและสถาบันเกษตรกรชาวสวนยาง แปรรูปยางเพื่อเพิ่มมูลค่า รวมทั้งสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ การรวบรวมผลผลิตและการตลาดของผลิตภัณฑ์จากสวนยางยั่งยืน เพื่อสร้างนักประกอบการทางสังคมให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง
10. ให้รัฐบาลเพิ่มการใช้ยางในประเทศให้ถึง 25 % ภายใน 1 ปี ด้วยการทำถนนพาราซอล์ยซีเมนต์


เครือข่ายสภาองค์กรชุมชนตำบลและประชาสังคม
22 กรกฎาคม 2562