ตอบ

Warning: this topic has not been posted in for at least 120 days.
Unless you're sure you want to reply, please consider starting a new topic.
ชื่อ:
อีเมล์:
หัวข้อ:
ไอค่อนข้อความ:

แนบไฟล์:
(Clear Attachment)
(แนบไฟล์เพิ่ม)
Restrictions: 4 per post, maximum total size 192KB, maximum individual size 128KB
Verification:
กรุณาพิมพ์ชื่อนี้ Rakayang เป็น???าษาไทย:

shortcuts: กด alt+s เพื่อตั้งกระทู้ หรือ alt+p แสดงตัวอย่าง


สรุปหัวข้อ

ข้อความโดย: Rakayang.Com
« เมื่อ: ตุลาคม 03, 2019, 08:59:34 AM »

ข้อมูลโครงการประกันรายได้เกษตรกรชาวสวนยางพารา ระยะที่ 1
โครงการประกันรายได้เกษตรกรชาวสวนยางพารา ระยะที่ 1 เริ่มต้นตั้งแต่ วันที่ 1 ต.ค.62 จนถึง วันที่ 30 มีนาคม 63 รวมเวลา 6 เดือน
++ รัฐจ่ายเงินส่วนต่างจากราคายางพารา ที่เกษตรกรขายได้
++ จ่ายเงิน 2 เดือนต่อ 1 ครั้ง ซึ่งงวดแรก ระหว่างเดือนตุลาคม ถึงพฤศจิกายน 62 จะเริ่มจ่ายตั้งแต่วันที่ 15 ธันวาคม 62 เป็นต้นไป ผ่านบัญชีธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)
++ ประกันรายได้ของราคาขาย
++ ยางแผ่นดิบคุณภาพดี 60 บาท/กิโลกรัม
++ น้ำยางสด (DRC 100%) 57.00 บาท/กิโลกรัม
++ ยางก้อนถ้วย (DRC 50%) 23.00 บาท/กิโลกรัม
คำนวณผลผลิต 20 กิโลกรัม/ไร่/เดือน ให้รายละไม่เกิน 25 ไร่
++ พื้นที่ทั้งหมด 17,201,390.77 ไร่
++ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ต้องขึ้นทะเบียน หรือแจ้งการปลูกกับ กยท. ก่อนวันที่ 12 สิงหาคม 62 ประกอบด้วยเกษตรกรที่ถือบัตรสีเขียว ซึ่งพื้นที่มีเอกสารสิทธิและบัตรสีชมพู ซึ่งเป็นพื้นที่ไม่มีเอกสารสิทธิ
++ เจ้าของสวน 1,412,017 ราย และคนกรีด 299,235 ราย
++ งบประมาณรวม 24,278,626, 534 ล้านบาท

ข้อสังเกต....
++โครงการนี้เป็นการช่วยเหลือระยะสั้น....เห็นด้วยและต้องจำกัดกรอบงบและระยะเวลาให้ชัดเจน
++โครงนี้จะช่วยเพิ่มผลผลิตต่อไร่ เพิ่มคุณภาพ เสริมสรา้งความเข้มแข็งของสหกรณ์ และเพิ่มความยั่งยืนของสวนยางและอุตสาหกรรมยางพาราได้อย่างไร....คำตอบ คือ ไม่เลย
ฉะนั้นต้องทำมิติอื่น ๆ ที่เป็นรูปธรรมมากขึ้น
****สุดท้ายประกันรายได้ก็แปลงสารไปสู่การจ่ายเงินช่วยเหลือโดยตรง เหมือนที่ผ่านมา เพียงเรียกชื่อต่างออกไป ***
+++เตรียมรับมือผลกระทบ ปริมาณผลผลิตยางออกเพิ่มขึ้น ราคายางซึมนาน ผลผลิตต่อไรลดลง และกลไกตลาดไม่ทำงาน ---

ที่มา : การยางบึงกาฬ