ผู้เขียน หัวข้อ: วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อราคายาง วันอังคาร ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2557  (อ่าน 1387 ครั้ง)

Rakayang.Com

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 82399
    • ดูรายละเอียด





วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อราคายาง
วันอังคาร ที่  4  มีนาคม พ.ศ. 2557
ปัจจัย[/t][/t]
[/t]
วิเคราะห์
1. ส???าพ???ูมิอากาศ- ลมตะวันออกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมอ่าวไทย และ???าคใต้มีกำลังแรงขึ้น ทำให้???าคตะวันออกและ???าคใต้มีเมฆบางส่วนกับมีฟ้าหลัวในตอนกลางวัน และคลื่นลมแรงขึ้น อาจจะส่งผลให้เกิดฝนฟ้าคะนองได้ในบางพื้นที่
2. การใช้ยาง- สมาคมผู้จำหน่ายรถยนต์ญี่ปุ่น เปิดเผยว่า ยอดขายรถยนต์ญี่ปุ่นในเดือน กุม???าพันธ์ ซึ่งไม่รวมรถขนาดเล็ก เพิ่มขึ้นร้อยละ 15 จากปีก่อนหน้า แตะ 336,176 คัน ซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้นติดต่อกันเป็นเดือนที่ 6
3. เศรษฐกิจโลก- สำนักงานสถิติแห่งชาติของจีน เปิดเผยว่าดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ???าคบริการในเดือน กุม???าพันธ์ เพิ่มขึ้นแตะ 55.0 จาก 53.4 ในเดือน มกราคม หลังจากที่ปรับตัวลดลงต่อเนื่อง 3 เดือน ติดต่อกัน
- ผลสำรวจ แสดงให้เห็นว่า
  • ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ???าคการผลิตของอิตาลีในเดือน กุม???าพันธ์ ลดลงเล็กน้อย แตะ 52.3 ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในรอบ 3 เดือน เทียบกับ 53.1 ในเดือน มกราคม
  • ???าคการผลิตของสเปน ในเดือน กุม???าพันธ์ เพิ่มขึ้นแตะ 52.5 จาก 52.2 ในเดือน มกราคม
  • ???าคการผลิตของฝรั่งเศส ในเดือน กุม???าพันธ์ เพิ่มขึ้นแตะ 49.7 จาก 49.3 ในเดือน มกราคม และสูงกว่าการประเมินเบื้องต้นที่ 48.5
  • ???าคการผลิตของยูโรโซน ในเดือน กุม???าพันธ์ ลดลงสู่ระดับ 53.2 จาก 54.0 ในเดือน มกราคม แต่สูงกว่าการประเมินเบื้องต้นที่ 53.0
  • ???าคการผลิตของเยอรมนี ในเดือน กุม???าพันธ์ ลดลงแตะ 54.8 จาก 56.5 ในเดือน มกราคม
- สถาบันจัดการด้านอุปทานของสหรัฐฯ (ISM) เปิดเผยว่าดัชนี???าคการผลิต 1 เดือน กุม???าพันธ์ ปรับตัวขึ้นแตะ 53.2 จาก 51.3 ในเดือน มกราคม และสูงกว่าที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นแตะ 52.5 ซึ่งฟื้นตัวขึ้นหลังจากชะลอลงในเดือน มกราคม อันเป็นผลมาจากส???าพอากาศที่เลวร้าย
- มาร์กิต เปิดเผย ผลสำรวจ ระบุว่า ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ???าคการผลิตของสหรัฐฯ ในเดือน กุม???าพันธ์ เพิ่มขึ้นแตะ 57.1 ซึ่งเป็นระดับสูงสุดนับตั้งแต่เดือน พฤษ???าคม 2553 หรือในรอบ 45 เดือน เมื่อเทียบกับ 53.7 ในเดือน มกราคม และสูงกว่าประเมินเบื้องต้นที่ 56.7
4. อัตราแลกเปลี่ยน- เงินบาทอยู่ที่ 32.55 บาทต่อดอลล่าร์สหรัฐ แข็งค่า 0.05 บาทต่อดอลล่าร์สหรัฐ และเงินเยนอยู่ที่ 101.68 เยนต่อดอลล่าร์สหรัฐ อ่อนค่า 0.36 เยนต่อดอลล่าร์สหรัฐ
5. ราคาน้ำมัน- สัญญาน้ำมันดิบเวสต์เท็กซัส (WTI) ตลาด Nymex ส่งมอบเดือน เมษายน ปิดตลาดที่  104.92 ดอลล่าร์สหรัฐต่อบาร์เรล เพิ่มขึ้น 2.33 ดอลลาร์สหรัฐฯ  เนื่องจากสถานการณ์ความรุนแรงในประเทศยูเครน ทำให้นักลงทุนวิตกกังวลว่าอาจจะส่งผลกระทบต่อ???าวะอุปทานพลังงานทั่วโลก หลังจากรัสเซียซึ่งเป็นผู้ผลิตน้ำมันรายใหญ่ของโลกได้ส่งกำลังทหารเข้าไปยังไครเมียซึ่งเป็นคาบสมุทรทางตอนใต้ของยูเครน
6. การเก็งกำไร- ราคา TOCOM ส่งมอบเดือน เมษายน 2557 อยู่ที่ 228.0 เยนต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้น 3.7 เยนต่อกิโลกรัม และส่งมอบเดือน สิงหาคม 2557 อยู่ที่ 226.6 เยนต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้น 1.9 เยนต่อกิโลกรัม
- ราคาตลาด SICOM เปิดตลาดที่ 220.2 เซนต์สหรัฐต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้น 0.20 เซนต์สหรัฐต่อกิโลกรัม
7. ข่าว- คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญด้านโลจิสติกส์ของสหพันธ์พลาธิการและการจัดการซื้อของจีน เปิดเผยว่า ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ???าคอุตสาหกรรมเหล็กหล้าของจีน อยู่ที่ 39.9 ในเดือน กุม???าพันธ์  ซึ่งลดลงจากเดือน กุม???าพันธ์ ซึ่งเป็นการปรับลดลง 3 เดือน ติดต่อกัน และทำสถิติต่ำสุดนับตั้งแต่ เดือน กันยายน 2555
- กระทรวงพาณิชย์สหรัฐฯ เผยการบริโ???คส่วนบุคคลในเดือน มกราคม เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.4 หลังจากเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.1 ในเดือน ธันวาคม ปี 2556 และสูงกว่าที่คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ 0.1
- กรรมการผู้จัดการกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) เรียกร้องกลุ่มประเทศยูโรต่อสู้กับ???าวะเงินเฟ้อในระดับต่ำที่ยืดเยื้อเป็นเวลานาน และเตือนว่าสถานการณ์ดังกล่าวบ่งชี้ถึง???ัยที่คุกคามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศและระบุว่า 18 ชาติ ที่ใช้เงินยูโร ยังมีความเสี่ยงที่จะสร้างความเสียหายให้กับเศรษฐกิจอยู่ แม้???ูมิ???าคนี้จะหลุดพ้นจาก???าวะถดถอยแล้ว
ก็ตาม
8. ข้อคิดเห็นของ ผู้ประกอบการ- ราคายางปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อย จากปัจจัยด้านผลผลิตที่มีน้อย และผู้ประกอบการบางรายมีความต้องการซื้อ เพราะคิดว่า???าวะแห้งแล้งจะทำให้ผลผลิตลดลงต่อเนื่อง
แนวโน้ม ราคายางมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นตามตลาดโตเกียว เพราะมีแรงหนุนจากราคาน้ำมันที่ปรับตัวสูงขึ้น แตะระดับสูงสุดในรอบ 5 เดือน และข้อมูลเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ที่แข็งแกร่ง  โดยเฉพาะ???าคการผลิตที่ปรับเพิ่มสู่ระดับสูงสุดในรอบ 45 เดือน  ประกอบกับอุปทานยางลดลงในช่วงฤดูยางผลัดใบ ขณะสต๊อคยางจีนปรับลดลงเล็กน้อยมาอยู่ที่ระดับ 203,166 ตัน (28 ก.พ 57) จากระดับ 207,411 ตัน (21 ก.พ 57) อย่างไรก็ตาม ราคายางยังมีแรงกดดันจากความวิตกกังวลเกี่ยวกับเศรษฐกิจจีนผู้ใช้ยางรายใหญ่ของโลกที่ซบเซา  ซึ่งอาจส่งผลต่ออุปสงค์ยางซึ่งเป็นปัจจัยกดดันราคายางได้ในระดับหนึ่ง

คณะทำงานวิเคราะห์สำนักงานตลาดกลางยางพาราสงขลา






























































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































































[/td][/tr][/table]