ผู้เขียน หัวข้อ: วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อราคายาง วันอังคาร ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2556  (อ่าน 1596 ครั้ง)

Rakayang.Com

  • Administrator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 82396
    • ดูรายละเอียด















 
 
วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อราคายาง
วันอังคาร ที่  17  ธันวาคม  พ.ศ. 2556
ปัจจัย[/t][/t]
[/t]
วิเคราะห์
1. ส???าพ???ูมิอากาศ- มรสุมตะวันออกเฉียงเหนือกำลังค่อนข้างแรงพัดปกคลุมอ่าวไทยและ???าคใต้ ทำให้???าคใต้มีฝนตก ร้อยละ 40 ของพื้นที่ ส่วนมากทางตอนล่างของ???าค บริเวณตั้งแต่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จนถึงนราธิวาส ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการกรีดยาง
2. การใช้ยาง- กระทรวงเกษตรของอินโดนีเซีย ได้มีโครงการให้ความช่วยเหลือด้านเงินกู้ จำนวน 40 ล้านรูเปียห์/ เฮกตาร์ แก่เกษตรกรรายย่อยเพื่อใช้ในการปลูกยางใหม่ จนถึงปี 2557 โดยหวังจะให้พื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้นอีก 4 แสนเฮกตาร์ และส่งเสริมการให้ความรู้ด้านการเพาะปลูกและเทคโนโลยีการกรีด
เพิ่มผลผลิตให้ได้ถึง 1,300 กิโลกรัม/เฮกตาร์ ???ายในปี 2557
3. สต๊อคยาง- สต๊อคยางญี่ปุ่น ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2556 เพิ่มขึ้น 1,063 ตัน หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 14.39 แตะที่ 8,449 ตัน จากระดับ 7,386 ตัน ณ วันที่ 20 พฤศจิกายน 2556
4. เศรษฐกิจโลก- ธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) สาขานิวยอร์ก รายงานว่า ???าวะธุรกิจโดยรวม เดือน ธันวาคม เพิ่มขึ้นสู่ระดับ 0.98 จาก ? 2.2 ในเดือน พฤศจิกายน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่ากิจกรรมของ???าคการผลิตในนิวยอร์กมีการฟื้นตัวขึ้นเล็กน้อยในเดือนนี้
- ธนาคารกลางสหรัฐฯ เปิดเผยว่าการผลิต???าคอุตสาหกรรม เดือน พฤศจิกายน ปรับตัวขึ้น ร้อยละ 1.1 ซึ่งพุ่งขึ้นมากที่สุดในรอบ 1 ปี และนับเป็นสัญญาณบ่งชี้ล่าสุดดถึงแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจขณะที่อัตราการใช้กำลังการผลิตเพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.8 แตะ ร้อยละ 79.0 ในเดือน พฤศจิกายน
- มาร์กิต เปิดเผยผลสำรวจที่ระบุว่า ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ???าคการผลิตเบื้องต้นของสหรัฐฯ ในเดือน ธันวาคม อยู่ที่ระดับ 54.4 ซึ่งแม้ว่าลดลงเมื่อเทียบกับข้อมูลขั้นสุดท้ายของเดือน พฤศจิกายน ที่ 54.7 แต่???าคการผลิตยังคงมีการขยายตัวเนื่องจากดัชนีปรับตัวสูงกว่าระดับ 50
- HSBC โฮลดิ้ง เปิดเผยว่า ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) ???าคการผลิตเบื้องต้นของจีนในเดือน ธันวาคม ลดลงแตะ 50.5 ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในรอบ 3 เดือน เทียบกับ PMI ???าคการผลิตขั้นสุดท้ายของเดือน พฤศจิกายน ที่ 50.8
- แบงก์ออฟอเมริกา (BOA) เมอร์ริล ลินซ์ ได้ปรับเพิ่มคาดการผลิต ผลิต???ัณฑ์มวลรวม???ายในประเทศ (GDP) ของจีนในไตรมาส 4 ปี 2556 เป็น ร้อยละ 7.8 จากที่เคยคาดการณ์ไว้ที่ร้อยละ 7.7 เมื่อพิจารณาจากข้อมูลเศรษฐกิจมห???าคเดือน พฤศจิกายน ของจีน
- ผลสำรวจของมาร์กิตแสดงให้เห็นว่าดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PMI) เบื้องต้นของฝรั่งเศสในเดือนธันวาคม ลดลงแตะ 47.0 ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในรอบ 7 เดือน จาก 48.0 ในเดือน พฤศจิกายน
  • ขณะที่ดัชนี PMI เบื้องต้นของเยอรมนีในเดือน ธันวาคม ลดลงแตะ 55.2 ซึ่งเป็นระดับต่ำสุดในรอบ 2 เดือน จาก 55.4 ในเดือน พฤศจิกายน
  • ส่วนดัชนี PMI เบื้องต้นของยูโรโซนในเดือน ธันวาคม ปรับตัวสู่ระดับ 52.1 ซึ่งสูงสุด
    ในรอบ 3 เดือน จาก 51.7 ในเดือน พฤศจิกายน
- กระทรวงพาณิชย์อินเดีย เปิดเผยว่า เงินเฟ้อระดับค้าส่งของอินเดียในเดือน พฤศจิกายน ขยายตัวเร็วกว่าที่คาดการณ์ไว้ โดยดัชนีค้าส่งเพิ่มขึ้น ร้อยละ 7.52 เทียบเป็นรายปี และร้อยละ 7.00 เมื่อเทียบเป็นรายเดือน  นอกจากนี้ยังเป็นการเพิ่มขึ้นสูงสุดในรอบ 14 เดือน
- อดีตหัวหน้านักเศรษฐศาสตร์ของธนาคารโลก กล่าวในงานสัมมนาแห่งหนึ่งว่า จีนจะสามารถบรรลุเป้าหมายการขยายตัวของเศรษฐกิจที่ระดับ ร้อยละ 7.5 ? 8.0 ในปี 2557
- กระทรวงแรงงานสหรัฐฯ รายงานว่า ประสิทธิ???าพการผลิตของแรงงานนอก???าคเกษตรในช่วงไตรมาส 3 ปี 2556 เพิ่มขึ้นมากที่สุดในรอบเกือบ 4 ปี ซึ่งสะท้อนถึงการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโดยรวมที่กระเตื้องขึ้น  โดยกระทรวงระบุว่าประสิทธิ???าพการผลิตของแรงงานนอก???าคเกษตรในไตรมาส3 ปีนี้  เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.0 หลังจากปรับตัวเพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.9 ในการประเมินครั้งแรก และ
เป็นการปรับตัวขึ้นมากที่สุด นับตั้งแต่ช่วงไตรมาส 4 ของปี 2552
5. อัตราแลกเปลี่ยน- เงินบาทอยู่ที่ 32.00 บาท/ดอลล่าร์สหรัฐ  แข็งค่า 0.02 บาท/ดอลล่าร์สหรัฐ และเงินเยนอยู่ที่ 103.06 เยน/ดอลล่าร์สหรัฐ  แข็งค่า 0.07 เยน/ดอลล่าร์สหรัฐ
6. ราคาน้ำมัน- สัญญาน้ำมันดิบเวสต์เท็กซัส (WTI) ที่ตลาด Nymex ส่งมอบเดือน มกราคม 2557 ปิดตลาดที่ 97.48 ดอลลาร์/บาร์เรล เพิ่มขึ้น 0.88 ดอลลาร์/บาร์เรล ขนาดรับข้อมูล???าคการผลิตที่แข็งแกร่งของสหรัฐฯ ขณะที่นักลงทุนจับตาดูการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ในสัปดาห์นี้อย่างใกล้ชิด เพื่อดูว่าเฟดจะส่งสัญญาณการปรับลดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) หรือไม่
7. การเก็งกำไร- ราคาตลาด TOCOM ส่งมอบเดือน มกราคม 2557 อยู่ที่ 282.0 เยน/กิโลกรัม เพิ่มขึ้น 0.7 เยน/กิโลกรัม และส่งมอบเดือน พฤษ???าคม 2557 อยู่ที่ 281.6 เยน/กิโลกรัม ลดลง 2.1 เยน/กิโลกรัม
- ราคาตลาด SICOM อยู่ที่ 261.0 เซนต์สหรัฐ/กิโลกรัม ลดลง  0.2 เซนต์/กิโลกรัม
8. ข่าว- กระทรวงแรงงานสหรัฐฯ รายงานว่า ประสิทธิ???าพการผลิตของแรงงานนอก???าคเกษตรในช่วงไตรมาส 3 ปี 2556 เพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.0 ทำสถิติปรับตัวขึ้นมากที่สุดในรอบเกือบ 4 ปี ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่กระเตื้องขึ้น
9. ข้อคิดเห็นของ
    ผู้ประกอบการ
- ราคายางทรงตัวหรือปรับลดลงเล็กน้อย โดยผู้ประกอบการบางรายกล่าวว่า ผู้ซื้อไม่เร่งซื้อเพื่อรอให้ราคาปรับลดลงอีก หากปริมาณผลผลิตออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น ขณะที่แหล่งข่าวรายงานว่าราคาซื้อขายในระยะนี้อยู่ที่ประมาณ 255 - 256 เซนต์สหรัฐฯ/กิโลกรัม ขณะที่ราคาสิงคโปร์ อยู่ที่ 261.0 เซนต์สหรัฐฯ/กิโลกรัม
แนวโน้ม   ราคายางมีแนวโน้มทรงตัวหรือเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยในทิศทางเดียวกับตลาดโตเกียว เพราะได้รับแรงกดดันจากเงินเยนแข็งค่า และนักลงทุนวิตกกังวลเกี่ยวกับอุปสงค์ยางหลังจากมีการรายงานว่า???าคการผลิตจีนปรับลดลงแตะระดับต่ำสุดในรอบ 3 เดือน ขณะที่สต๊อคยางจีนและญี่ปุ่นเพิ่มขึ้น ประกอบกับนักลงทุนชะลอการซื้อเพื่อรอดูการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ในสัปดาห์นี้ เพื่อดูว่าเฟดจะตัดสินใจปรับลดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) หรือไม่  อย่างไรก็ตามข้อมูลเศรษฐกิจ???าคการผลิตที่แข็งแกร่งของสหรัฐฯ และยูโรโซน ซึ่งส่งสัญญาณการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกยังคงเป็นปัจจัยหนุนให้ราคายางเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบจำกัด
คณะทำงานวิเคราะห์สำนักงานตลาดกลางยางพาราสงขลา


































































 

[/td][/tr][/table]